บทความ คดีที่น่าสนใจ คดีคุณสนธิ ลิ้มทองกุล
เมื่อวันนี้ที่ 7 สิงหาคม 2557 ศาลอาญาได้อ่านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์
คดีหมายเลขดำที่ อ.1036/ 2552 ระหว่าง พนักงานอัยการฝ่ายคดีเศรษฐกิจและทรัพยาก ร 1 โจทก์ นายสนธิ ลิ้มทองกุล ที่ 1
นายสุรเดช มุขยางกูร อดีตกรรมการบริษัทแมเนเจอร์ มีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ที่ 2
นางสาวเสาวลักษณ์ ธีรานุจรรยงค์ อดีตผู้บริหารแผนฟื้นฟู บมจ. แมเนเจอร์ฯ ที่ 3.
นางสาวยุพิน จันทนา อดีตกรรมการ บมจ. แมเนเจอร์ฯ ที่ 4 จำเลย
ข้อหากระทำความผิดตาม พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรั พย์ พ.ศ.2535 มาตรา 307, 311,312 (1) (2) (3) , 313
โจทก์ฟ้องสรุปได้ว่า เมื่อระหว่างวันที่ 29 เมษายน 2539 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2540 จำเลยทั้ง 4 ซึ่งเป็นกรรมการบริษัท แมเนเจอร์มีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ได้ร่วมทำสำเนารายงานการประชุมข องกรรมการบริษัทที่เป็นเท็จ ว่า มีมติให้บริษัทเป็นผู้ค้ำประกัน เงิน
กู้ให้กับบริษัทเดอะ เอ็ม กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ที่จำเลยที่ 1
เป็นผู้ถือหุ้น กับธนาคารกรุงไทยจำกัด (มหาชน) รวม 6 ครั้ง เป็นเงินจำนวน
1,078 ล้านบาท
โดยจำเลยที่ 1 และที่ 3 ไม่ได้ขออนุมัติจากมติที่ประชุม กรรมการบริษัท และเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2539 ถึงวันที่ 18 พฤศจิกายน 2541 จำเลยทั้งสี่ยังร่วมกันยอมให้มี การเปลี่ยนแปลง ตัดทอนทำบัญชีไม่ตรงกับความเป็น จริง และยังไม่ได้นำภาระการค้ำประกัน เงินกู้ดังกล่าว ซึ่งถือเป็นรายการที่ทำให้รายได ้ของ บมจ.แมเนเจอร์ฯ เปลี่ยนแปลงผิดปกติ ซึ่งต้องแสดงรายการไว้ในงบการเง ินประจำปี 2539 ถึง 2541 และจะต้องนำส่งให้ตลาดหลักทรัพย ์ และสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลัก ทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.)เพื่อลวงให้ผู้ถือหุ้นของ บมจ.แมเนเจอร์ฯ ขาดประโยชน์ที่ควรจะได้รับ รวมทั้งเป็นการลวงให้นักลงทุนใน ตลาดหลักทรัพย์ไม่ได้รับรู้ถึงก ารค้ำประกันหนี้ดังกล่าว เหตุเกิดที่แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา และแขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กทม. เกี่ยวพันกัน
จำเลยทั้ง 4 ให้การรับสารภาพ
ศาลชั้นต้นมีคำพิพากษาเมื่ อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2555 ว่า จำเลยทั้งสี่ร่วมกันกระทำความผิ ดตามฟ้องโดยการกระทำของจำเลยที่ 1 ที่ 3 และที่ 4 เป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน ให้ลงโทษทุกกรรม ตาม พ.ร.บ.หลักทรัพย์ฯ และประมวลกฎหมายอาญา 83,91 ให้ลงโทษ
จำเลยที่ 1 และที่ 3 จำคุกกระทงละ 5 ปี รวม 17 กระทง เป็นจำคุกจำเลยที่ 1 และที่ 3 คนละ 85 ปี
จำเลยที่ 2 ลงโทษจำคุก 5 ปี และ
จำเลยที่ 4 ลงโทษจำคุกกระทงละ 5 ปี รวม 13 กระทง เป็นจำคุกจำเลยที่ 4 มีกำหนด 65 ปี
จำเลยทั้ง 4 ให้การรับสารภาพเป็นโยชน์แก่การ พิจารณาคดี ลดโทษให้กึ่งหนึ่ง คงจำคุก
จำเลยที่ 1 และที่ 3 คนละ 42 ปี 6 เดือน
จำเลยที่ 2 จำคุก 2 ปี 6 เดือน
จำเลยที่ 4 จำคุก 32 ปี 6 เดือน
แต่เนื่องจากความผิดตามบทบ ัญญัติของกฎหมายที่ลงโทษจำเลยมี อัตราโทษสูงสุดไม่เกิน 10 ปี จึงลงโทษจำเลยได้ไม่เกิน 20 ปี ตามมาตรา 91(2)
จึงลงโทษจำคุกจำเลยที่ 1 ที่ 3 และที่ 4 คนละ 20 ปี
จำเลยที่ 1 ที่ 3 และที่ 4 อุทธรณ์ คดีในส่วนที่เกี่ยวกับจำเล ยที่ 2 ที่ไม่อุทธรณ์ จึงถึงที่สุดตามคำพิพากษาศาลชั้ นต้น
ศาลอุทธรณ์ พิจารณาแล้ว เห็นว่า อุทธรณ์ของทั้ง 3 ฟังไม่ขึ้น
จึงพิพากษายืนตามศาลชั้นต้ น
คดีนี้แม้ศาลอุทธรณ์ ลงโทษจำเลยที่ 1 ที่ 3 และที่ 4 คนละ 20 ปี แต่เป็นการลงโทษจากการกระทำความ ผิดหลายกระทง โดยลงโทษจำคุกกระทงละไม่เกิน 5 ปี และศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลช ั้นต้น จึงต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ในปัญหา ข้อเท็จจริง
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณ าความอาญา มาตรา 218 ที่วรรคแรกบัญญัติว่า ในคดีท่ีศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตา มศาลล่างหรือเพียงแต่แก้ไขเล็กน ้อย และให้ลงโทษจําคุกจําเลยไม่เกิน ห้าปี หรือปรับหรือท้ังจําทั้งปรับแต่ โทษจําคุกไม่เกินห้าปีห้ามมิให้ คู่ความฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
จำเลยมีสิทธิฎีกาในปัญหาข้ อกฎหมาย แต่เนื่องจากจำเลยให้การรับสารภ าพ ซึ่งหมายความว่ายอมรับว่า ได้กระทำความผิดตามโจทก์ฟ้องจริ ง จึงแทบจะไม่มีประเด็นในปัญหาข้อ กฎหมายที่จะฎีกาได้
ประเด็นในข้อเท็จจริ งจะต้องให้ผู้พิพากษาที่ได้พิจา รณาหรือลงชื่อในพิพากษาคดีนี้หร ือทำความเห็นแย้งทั้งในศาลชั้นต ้นและศาลอุทธรณ์ อนุญาตให้ฎีกา หรืออัยการสูงสุดรับรองให้ฎีกา จึงจะฎีกาได้ ทั้งนี้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจา รณาความอาญา มาตรา 221
ถ้าจำเลยทั้ง 3 ไม่ได้รับอนุญาตหรือรับรองให้ฎี กาในปัญหาข้อเท็จจริง และไม่มีข้อกฎหมายที่จะฎีกา ก็ต้องถูกจำคุกตามคำพิพากษาศาลอ ุทธรณ์
สรุป... กฎหมายจะศักดิ์สิทธิ์หรือไม่...ขึ้นอยู่กับผู้ใช้กฎหมาย ตามหลักปรัชญา ถ้าผู้พิพากษาขายตัว รับสินบน หรือ กลัวตายจากมาเฟียข่มขู่ การยิงถล่มศาลด้วย M79 หรือ การขู่ทำร้ายคนในครอบครัว ความเป็นธรรมก็จะไม่เกิดขึ้นกับบ้านกับเมือง จำเลยก็จะลอยนวล มีตัวอย่าง การไล่ออกผู้พิพากษาที่ทุจริตรับสินบน พัวพันเรื่อง การให้ประกันตัวพ่อค้ายาเสพติด ที่เกิดขึ้นเร็วๆนี้เป็นต้น
แต่ก็มีผู้พิพากษาดีๆอีกมากมาย ที่ยึดหลักคุณธรรมและมีมโนธรรมในการพิจารณาคดี
หลักใหญ่ๆในการพิจารณาคดีให้เกิดความเป็นธรรม ก็จะขึ้นอยู่กับพยานบุคคล พยานหลักฐาน พยานเอกสาร และ ดุลพินิจของผู้พิพากษา มาพิจารณาร่วมกับตัวบทกฎหมาย
เมื่อวันนี้ที่ 7 สิงหาคม 2557 ศาลอาญาได้อ่านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์
คดีหมายเลขดำที่ อ.1036/
นายสุรเดช มุขยางกูร อดีตกรรมการบริษัทแมเนเจอร์ มีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ที่ 2
นางสาวเสาวลักษณ์ ธีรานุจรรยงค์ อดีตผู้บริหารแผนฟื้นฟู บมจ. แมเนเจอร์ฯ ที่ 3.
นางสาวยุพิน จันทนา อดีตกรรมการ บมจ. แมเนเจอร์ฯ ที่ 4 จำเลย
ข้อหากระทำความผิดตาม พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรั
โจทก์ฟ้องสรุปได้ว่า เมื่อระหว่างวันที่ 29 เมษายน 2539 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2540 จำเลยทั้ง 4 ซึ่งเป็นกรรมการบริษัท แมเนเจอร์มีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ได้ร่วมทำสำเนารายงานการประชุมข
โดยจำเลยที่ 1 และที่ 3 ไม่ได้ขออนุมัติจากมติที่ประชุม
จำเลยทั้ง 4 ให้การรับสารภาพ
ศาลชั้นต้นมีคำพิพากษาเมื่
จำเลยที่ 1 และที่ 3 จำคุกกระทงละ 5 ปี รวม 17 กระทง เป็นจำคุกจำเลยที่ 1 และที่ 3 คนละ 85 ปี
จำเลยที่ 2 ลงโทษจำคุก 5 ปี และ
จำเลยที่ 4 ลงโทษจำคุกกระทงละ 5 ปี รวม 13 กระทง เป็นจำคุกจำเลยที่ 4 มีกำหนด 65 ปี
จำเลยทั้ง 4 ให้การรับสารภาพเป็นโยชน์แก่การ
จำเลยที่ 1 และที่ 3 คนละ 42 ปี 6 เดือน
จำเลยที่ 2 จำคุก 2 ปี 6 เดือน
จำเลยที่ 4 จำคุก 32 ปี 6 เดือน
แต่เนื่องจากความผิดตามบทบ
จึงลงโทษจำคุกจำเลยที่ 1 ที่ 3 และที่ 4 คนละ 20 ปี
จำเลยที่ 1 ที่ 3 และที่ 4 อุทธรณ์ คดีในส่วนที่เกี่ยวกับจำเล
ศาลอุทธรณ์ พิจารณาแล้ว เห็นว่า อุทธรณ์ของทั้ง 3 ฟังไม่ขึ้น
จึงพิพากษายืนตามศาลชั้นต้
คดีนี้แม้ศาลอุทธรณ์ ลงโทษจำเลยที่ 1 ที่ 3 และที่ 4 คนละ 20 ปี แต่เป็นการลงโทษจากการกระทำความ
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณ
จำเลยมีสิทธิฎีกาในปัญหาข้
ประเด็นในข้อเท็จจริ
ถ้าจำเลยทั้ง 3 ไม่ได้รับอนุญาตหรือรับรองให้ฎี
สรุป... กฎหมายจะศักดิ์สิทธิ์หรือไม่...ขึ้นอยู่กับผู้ใช้กฎหมาย ตามหลักปรัชญา ถ้าผู้พิพากษาขายตัว รับสินบน หรือ กลัวตายจากมาเฟียข่มขู่ การยิงถล่มศาลด้วย M79 หรือ การขู่ทำร้ายคนในครอบครัว ความเป็นธรรมก็จะไม่เกิดขึ้นกับบ้านกับเมือง จำเลยก็จะลอยนวล มีตัวอย่าง การไล่ออกผู้พิพากษาที่ทุจริตรับสินบน พัวพันเรื่อง การให้ประกันตัวพ่อค้ายาเสพติด ที่เกิดขึ้นเร็วๆนี้เป็นต้น
แต่ก็มีผู้พิพากษาดีๆอีกมากมาย ที่ยึดหลักคุณธรรมและมีมโนธรรมในการพิจารณาคดี
หลักใหญ่ๆในการพิจารณาคดีให้เกิดความเป็นธรรม ก็จะขึ้นอยู่กับพยานบุคคล พยานหลักฐาน พยานเอกสาร และ ดุลพินิจของผู้พิพากษา มาพิจารณาร่วมกับตัวบทกฎหมาย